แบบบ้านชั้นเดียว มินิมอล

แบบบ้านชั้นเดียว มินิมอล ชัดเจนในความอุ่นใจ

แบบบ้านชั้นเดียว มินิมอล เป็นรูปแบบของงานศิลปะ ซึ่งเริ่มเป็นกระแสในช่วงปี 1960 โดยศิลปินกลุ่มหนึ่ง ที่มีความเบื่อหน่ายกระแส งานศิลปะรูปแบบ Abstract Expressionism หรืองานศิลปะ ที่เน้นสีสัน มีการผสมผสาน ระหว่างอารมณ์ที่รุนแรง มีลักษณะเฉพาะ เป็นกบฏ และสับสนอลหม่าน เป็นรูปแบบงานศิลปะ ที่มีอิทธิพลและได้รับความนิยมก่อนหน้านั้น

ซึ่งแนวทางของ งานศิลปะรูปแบบ Minimalism ก็จะเป็นในทิศทางตรงกันข้าม คือการถ่ายทอด สิ่งที่เรียบง่าย และตรงไปตรงมาผ่านงานศิลปะ ลดทอนสิ่งที่ไม่จำเป็น มีความสงบ และมักใช้ลักษณะการ แสดงออกที่ตรงไปตรงมา เช่น รูปทรงสี่เหลี่ยม วงกลม และหลังจากนั้นอิทธิของ Minimalism ก็เริ่มแพร่ขยายเข้ามา ในวงการงานสถาปัตยกรรม ในช่วงยุค 1980 ขึ้นไป โดยแสดงออกผ่าน การออกแบบภายใน หรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่มีดีไซน์เรียบง่าย ใช้สีน้อยๆ และเน้นความจำเป็น บ้านจัดสรร

และอีกส่วนหนึ่งเชื่อกันว่า การตกแต่งสไตล์นี้ ได้รับอิทธิพลมาจากแนว ปรัชญาของพุทธนิกาย Zen ของเอเซีย หรือการตกแต่งที่มีที่มาที่ไปจากสถาปัตยกรรม แบบญี่ปุ่น ตั้งแต่ช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตัวอย่างเช่น นักจัดบ้านชาวญี่ปุ่นที่เชื่อว่า เหตุการณ์ซึ่งมีส่วน ในการทำให้ผู้คนชาวญี่ปุ่น หันมานิยมใช้การตกแต่งสไตล์นี้ คือเหตุการณ์แผ่นดินไหว ซึ่งสร้างความเสียหาย ต่อทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก จัดสวนในพื้นที่บ้าน

จนทำให้ผู้คนหันมาเริ่มตกแต่ง ด้วยเฟอร์นิเจอร์หรือของ ตกแต่งน้อยชิ้น และเน้นการฟื้นฟู สภาพจิตใจด้วยพื้นที่โปร่งโล่ง ไม่มีของตกแต่งมากชิ้น มาบดบังสายตา สร้างนิยามของสีหรือ ดีไซน์ที่ดูสบายตา ช่วยปลอบประโลม จิตใจให้สงบและอบอุ่น

แบบบ้านชั้นเดียว มินิมอล

แบบบ้านโมเดิร์นมินิมอล

หากเรามองบ้านในชุมชนก็ จะได้เห็นมุมมองที่ แตกต่างมากมาย โดยเฉพาะในยุคใหม่ ๆ การตีความบ้านเปลี่ยนไปอย่างหลากหลาย เมื่อมาประกอบกับเทคโนโลยี ในการก่อสร้าง ทำให้อาคารที่พักอาศัย น่าสนุกและต่อเติมจินตนาการทั้งของสถาปนิก และของผู้อยู่อาศัยได้กว้างขึ้น

บ้านในญี่ปุ่นก็เป็นประเทศ ที่มีความกล้าในการ ใส่อะไรแปลก ๆ ออกนอกกรอบ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ ในการออกแบบและมีอิทธิพลต่อการทำ บ้านในไทยไม่ใช่น้อย เหมือนเช่นบ้านหลังคา ลอยตัวในโกเบ ฝีมือการออกแบบจาก Masahiro Miyake หลังนี้ที่แม้จะนำเสนอ บ้านสไตล์มินิมอล แต่ดึงดูดความสนใจเป็นอย่างมาก บ้านแฝด 

บ้านโมเดิร์น ที่มีดีกว่าความเรียบ บ้านหลังนี้เป็นหนึ่ง ในโครงการบ้านที่ออกแบบโดย y + M Design Office ที่กำหนดรูปแบบทางสถาปัตยกรรมใน รูปแบบที่เรียบง่ายมาก ๆ ตัวบ้านถูกกำหนดให้เป็น สถานที่ส่วนบุคคลที่ สะท้อนตัวตนอันแตกต่างจากภูมิทัศน์ ของเมืองรอบ ๆ โดยใส่รูปลักษณ์ที่ไม่เหมือนใคร

แต่ยังมีจุดร่วมคือลักษณะ หลังคาที่ทำองศาตรงมุม ให้ดูคล้ายบ้านหลังคาทรงปั้นหยา และการตัดผนังบาง ส่วนให้โค้งดูเหมือนทรง หลังคาญี่ปุ่นโบราณ ตัวอาคารขยับเข้าไปลึก จากถนนแล้วทำเนินให้ค่อย ๆ เข้าสู่ตัวบ้าน แม้จะเป็นอาคารส่วนตัวแต่ก็เป็นจุดสังเกต ที่เสริมสร้างประสบการณ์ การใช้ชีวิตร่วมกับชุมชนได้

แบบบ้านชั้นเดียว มินิมอล

ด้านหน้าปิดหลังเปิดแบ่งเป็นสองอาคาร

อาคารกล่องสี่เหลี่ยมด้าน หน้าที่เห็นเป็นก้อนเดียว หากมองจากด้านหลัง จะเห็นว่าแบ่งกลุ่ม อาคารออกเป็นสองก้อน มีช่องว่างตรงกลาง ในส่วนหลังคาก็เป็น 2 ชั้นเช่นกัน คือ หลังคาที่ติดกับผนัง ออกแบบให้โค้งแอ่นความสูง ด้านหนึ่ง ตัดเส้นเฉียงสูงด้านหนึ่ง ให้มีความเหลื่อมกัน ส่วนหลังคาอีกชั้นจะเป็น แผ่นคอนกรีตขนาดใหญ่ ยกขึ้นเป็นหลังคาลอยตั้งอยู่บนเสา ไม้เรียวสูงอย่างท้าทาย ในขณะที่ผนังทั้งสี่ด้าน ด้านล่างดูราวกับเป็นม่าน สีขาวที่ห้อยลงมาจากทั้งสี่ด้าน

การสร้างหลังคาในมุม ที่แตกต่างกันทำให้เกิดมุมมอง ที่เหลื่อมกัน สามารถมองเห็นกันได้ โดยไม่ทับซ้อน และการใช้วิธีแยกอาคารเป็นสองส่วนก็เป็น กลยุทธ์ที่ดีในการแบ่งสัด ส่วนการใช้งานออกจากกัน อาทิ พื้นที่เล่นสำหรับเด็ก ห้องทำงาน ห้องนอน และพื้นที่ขนาดใหญ่

สำหรับการใช้งานที่หลากหลาย ไม่รบกวนกันและกัน ระหว่างอาคารมีประตูหน้าต่างขนาดใหญ่ที่หันหน้า เข้าหากันทำให้สามารถ มองเห็นภายในของบ้าน เพื่อรักษาความเป็น ส่วนตัวของผู้อยู่อาศัยโดยไม่รู้สึกว่า ถูกปิดกั้นมุมมอง เพียงแต่เลือกเปิดในส่วน ที่เปิดได้และปิดส่วน ที่ต้องการปิดเท่านั้น

ตกแต่งเรียบง่าย

บ้านคลีนที่เต็มไปด้วยแสง

งานถนัดของสถาปนิกญี่ปุ่นคือความ clean ของเส้นสายและวัสดุ ที่ทุกอย่างต้องดูสะอาดตา น้อย ๆ ไม่มีอะไรมากเกินความจำเป็น สว่างด้วยสีขาวเป็นสีพื้น แทรกด้วยงานไม้ให้ความ อบอุ่นท่ามกลางความนิ่ง จะแปลกตาไป ตรงที่วัสดุฝ้าเพดานหยิบวัสดุ โปร่งแสงมาใช้ ซึ่งยังไม่ค่อย ได้เห็นในบ้านหลังไหนแม้ จะเป็นบ้านในญี่ปุ่นเองก็ตาม

ในด้านหน้าอาจจะเห็นว่า มีหน้าต่างน้อยมาก ทั้งสามด้าน ราวกับว่าการสัมผัสกับโลก ภายนอกถูกกำหนด ผ่านช่องเล็ก ๆ เท่านั้น แต่ถ้ามาดูด้านใน จะพบว่าบ้านมีความ สัมพันธ์ทางตรงกับที่ เข้ามาจากช่องแสงด้านหลัง ด้านข้าง ช่องแสง skylight ด้านบนหลังคา และบริเวณเหนือผนัง ภายในบ้านมีการจัดช่อง ว่างขนาดใหญ่ ห้องพักไม่ได้แยกออกจากกันในการใช้งาน แต่ทุกห้องมีส่วน ช่วยในการสร้าง พื้นที่ส่วนกลางเช่นจัตุรัส หมู่บ้านส่วนตัว การรับรู้นี้เสริมด้วย แสงทางอ้อมจากด้านบน บ้านเดี่ยว

พื้นที่รับแสงรับลมที่ซับซ้อนภายใน

หลังคาที่แยกออกจากผนัง และทางเข้า ไม่เพียงแต่เป็นองค์ประกอบ หลักของบ้าน แต่ยังนำเสนอ โซลูชันที่ส่งเสริมให้แสงธรรมชาติและการระบาย อากาศทำได้ดีขึ้นด้วย รังสีของแสงที่แรงที่สุดของ ดวงอาทิตย์จากด้านบน จะถูกฉายลงมาจากช่องแสงสกายไลท์ บนหลังคาหลักขนาดใหญ่ ในขณะที่รังสีแสงของดวง อาทิตย์ในช่วงฤดูหนาว จะทะลุผ่านการตัดเข้ามาในอาคารที่ สร้างขึ้นตามเส้นทางช่องแสงในบ้าน ซึ่งนักออกแบบได้เจาะจง ตำแหน่งที่รับแสงได้พอดี ในเวลาเดียวกันอากาศ จะถูกถ่ายเทด้วยช่องเปิด และตรงช่องว่างระหว่างหลังคา ทั้งสองด้วยเช่นกัน ทุก ๆ อย่างที่รวมกันเป็นองค์ประกอบ ของบ้านจึงมีเหตุผล รองรับทั้งหมด  บ้าน

ตกแต่งเรียบง่าย

บ้าน ที่ดูเหมือนเรียบง่าย แต่ในทุกรายละเอียดคิด มาอย่างดีให้มีลูกเล่น และตอบโจทย์ทั้งเรื่องแสง ลม การระบายอากาศ ไปจนถึงมุมมอง จากด้านนอกเข้ามาด้านใน ด้านในมอง ออกไปข้างนอก การจัดพื้นที่ให้ ใช้งานง่ายในชั้นล่าง แต่มีความซับซ้อนในชั้นบน จึงทำให้ชีวิตภายใต้ความเรียบ สะอาด นี้มีความสนุกซ่อนอยู่ phuket property

การออกแบบบ้านให้อยู่อาศัยได้สบาย ต้องคำนึงถึงหลาย ๆ ปัจจัยไม่ว่าจะเป็น การเดินทางของแสง การเดินทางของลม ฟังก์ชันที่ต้องการใช้งาน รูปแบบการตกแต่งภายใน และความเป็นส่วนตัว ซึ่งความเป็นส่วนตัวนี้อาจจะทำได้ด้วยการปิดบ้านทึบใส่ช่องแสงน้อย ๆ การขยับบ้านเข้า ไปให้ลึกจากถนน หรือทำฟาซาด บ้านแบบระบบผนัง 2 ชั้น ด้านหน้าใส่วัสดุที่มี ช่องวางสลับทึบ ให้พื้นที่ภายในรับแสง รับลม และเห็นวิวความเคลื่อนไหว ภายนอกได้ ในขณะที่บุคคลภายนอกมองเข้ามาไม่ถนัด ก็เป็นวิธีการ สร้างความเป็นส่วนตัว ที่ยืดหยุ่น และสบายกว่าแบบปิดทึบ